มัชฌิมาปฏิปทา เส้นทางสู่ความหลุดพ้น
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย มัชฌิมาปฏิปทาที่เป็นธรรมทำให้มีดวงตา ทำให้เกิดญาณ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน คือ อริยมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ การเจรจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตั้งใจชอบ
การบริจาคร่างกายและอวัยวะ
มาบริจาคร่างกายและอวัยวะกันเถอะ..หากต้องการบริจาคร่างกาย เพราะตายไปแล้วก็ไม่ได้ใช้ วิธีการบริจาคร่างกายมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง มาติดตามกันได้เลยค่ะ . . . .
สิ่งที่ทำได้ยากเมื่อให้ไปแล้ว
คนควรให้ทาน จะน้อยหรือมากก็ตาม แต่ผู้ใด ครั้นให้ทานแล้ว ไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง การไม่เดือดร้อนใจนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าจะให้สิ่งของที่เป็นที่รักนั้น เหตุอย่างอื่นนั้นทั้งหมด เป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย
อานุภาพแห่งความจริง
ปีกของเรามีอยู่ แต่ก็บินไม่ได้ เท้าทั้งสองของเรามีอยู่ แต่ก็เดินไม่ได้ มารดาและบิดาของเราออกไปหาอาหาร ดูก่อนไฟป่า ท่านจงถอยกลับไปเถิด
เทพบุตรมาร (๑)
บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมถวายข้าว น้ำ เสื้อผ้า ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ที่อาศัย และสิ่งที่เป็นอุปกรณ์แก่ประทีป ให้เป็นทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาย่อมมุ่งหวังสิ่งที่ตนถวายไป โดยได้ศึกษามาว่า “พวกทวยเทพผู้สถิตอยู่ที่สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี เป็นเทพที่มีอายุยืน มีวรรณะงดงามมาก เต็มเปี่ยมไปด้วยความสุข” ดังนี้แล้ว จึงตั้งจิตปรารถนาอย่างนี้ว่า “โอหนอ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ขอเราพึงเข้าถึงความเป็นสหายแห่งทวยเทพเหล่าปรนิมมิตวสวัตดีเถิด” เขาตั้งจิตนั้นไว้ อธิษฐานจิตไว้มั่น อบรมจิตอย่างนั้นโดยมิได้อบรมเพื่อคุณวิเศษเบื้องสูง อย่างนี้แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อเกิดในสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
อานิสงส์ขายเส้นผมทำบุญ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้สักอย่างหนึ่ง ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ใหญ่ เหมือนการประกอบกุศลธรรมอยู่เนืองนิตย์เลย
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 92 การสร้างบารมีสิบทัศในเชิงปฏิบัติ
การสร้างบารมี 10 ทัศทั้ง 3 ระดับในเชิงปฏิบัติ สามารถแบ่งออกเป็น 10 ประการ ซึ่งพระโพธิสัตว์จะต้องสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 90 อุเบกขาบารมี
อุเบกขาบารมี หมายถึง การฝึกใจของพระโพธิสัตว์ให้หยุดนิ่ง โดยไม่หวั่นไหวต่ออารมณ์หรือสิ่งต่างๆที่มากระทบอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
ชัยชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะพญามาร)
เปรียบ..เสมือนดวงสุริยาที่ทอแสงให้ความสว่างในชีวิตแก่สรรพสัตว์ทั้งปวงโดยไม่เลือกที่รักผลักที่ชัง พระพุทธองค์เสด็จมาเพื่อประโยชน์สุขของมวล