กากะเยีย ขั้นกะเยีย...ผสานศิลป์ถิ่นอีสาน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-22 ดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแถบประเทศลาว ตลอดจนภาคอีสานของไทยเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านช้างที่มีความรุ่งเรืองด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นยุคที่มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับอาณาจักรล้านนา จึงได้น้อมรับเอาอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมการจารคัมภีร์ใบลานด้วยอักษรธรรมตามแบบฉบับล้านนามาพัฒนาจนเป็นอักษรธรรมอีสานหรืออักษรธรรมลาวเพื่อใช้จารจารึกคัมภีร์ในอาณาจักรล้านช้าง
ปกบ้านครองเมือง ของประเทศลาว
ปกบ้านครองเมือง เรื่องเล่าแต่เก่าก่อน ประเทศลาวในปัจจุบันมีรากฐานมาจากอาณาจักรล้านช้างในอดีต ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าฟ้างุ่มในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 เมื่อครั้งที่อาณาจักรล้านช้างมีความเจริญสูงสุดสามารถแผ่อิทธิพลเข้าไปถึงบริเวณซึ่งเป็นประเทศกัมพูชา ไทย และลาวปัจจุบัน หลังจากอาณาล้านช้างเริ่มเสื่อมอำนาจ ได้แตกออกเป็น 3 ราชอาณาจักร คือ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจำปาศักดิ์ (จำปาสัก) ปี พ.ศ. 2321 จึงตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรสยาม จนกระทั่งปี พ.ศ. 2436 ฝรั่งเศสใช้สนธิสัญญาไม่เป็นธรรมบีบบังคับให้สยามยกดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงทั้งหมดให้แก่ตน ลาวจึงแตกเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส โดยฝรั่งเศสรวมราชอาณาจักรทั้งสามเข้าเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งคือลาวในปัจจุบัน
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
ชมถ่ายทอดสด งานสัมมนาคัมภีร์โบราณ 8 มีนาคม พ.ศ.2555 คลิก
ขอเชิญร่วมฉลองพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ยี่สิบหกพุทธศตวรรษ ที่คำสอนของพระบรมศาสดาหลังพุทธปรินิพพาน ยังคงดำรงอยู่และเอื้อให้มีการศึกษาค้นคว้า
ร่วมบุญกฐิน 2556 กับกอง www.dmc.tv
ร่วมบุญกฐิน 2556 กับกอง www.dmc.tv ในวโรกาสที่พระพุทธศาสนาย่างเข้าสู่พุทธศตวรรษที่ 26 นี้ ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมาพุทธศาสนิกชนต่างพากันสร้างบุญกุศลและบำเพ็ญความดีนานัปการเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และในช่วงออกพรรษานี้ ก็เป็นอีกวาระหนึ่งที่เราจะได้สร้างบุญใหญ่ถวายเป็นพุทธบูชาด้วยการทอดกฐินสามัคคี
ทำไม...ถึงสร้างพระมหาธรรมกายเจดีย์รูปทรงแบบนี้ ? ผิดไหม ? ใช่รูปจานบินไหม ?
แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเรื่องการออกแบบสร้างสถูปหรือเจดีย์ไว้อย่างไร ?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๓)
ในฉบับที่แล้ว ผู้เขียนเล่าย้อนไปถึงพันธกิจที่สำคัญเกี่ยวกับการเดินทางไปเยี่ยมเยียนให้กำลังใจทีมงานนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI)....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม