หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๔)
ดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าบทธัมมจักกัปปวัตนสูตรนั้นเป็นบทพระธรรมเทศนาที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ หลังจากที่ตรัสรู้ได้เพียง ๒ เดือน ณ.....
ปัญจภีรุกชาดก ชาดกว่าด้วยความสวัสดี
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระสูตรว่าด้วยการประเล้าประโลมของมารธิดา ณ อัชปาลนิโคตธ
ทุราชานชาดก ชาดกว่าด้วยภาวะของหญิงรู้ได้ยาก
มหานครสาวัตถี นครหลวงของแคว้นในสมัยที่พระพุทธศาสนากำลังเจริญรุ่งเรืองบนแผ่นดินชมพูทวีปนั้น มหาชนผู้เลื่อมใสในคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าต่างหลั่งไหลกันมาทั้งไกลใกล้มิได้เว้นว่างยังนำเครื่องไทยธรรมอันประณีตถวายพระพุทธองค์และภิกษุสงฆ์
จัมมสาฏกชาดก ชาดกว่าด้วยนักบวชไหว้แพะ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภปริพาชกชื่อ จัมมสาฏก จีงทรงตรัสพระธรรมเทศนาดังนี้ กาลครั้งนั้นมีปริพาชกผู้หนึ่งบำเพ็ญตบะด้วยการเปลือยกาย มีเพียงผิวหนังเท่านั้นเป็นเครื่องนุ่งห่ม
อารามทูสกชาดก ชาดกว่าด้วยความฉลาดอันไม่เป็นประโยชน์
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เดินทางเผยแผ่พระธรรมในที่ต่างๆ ครั้งหนึ่งได้เสด็จไปที่แคว้นโกศล ครั้งนั้นมีภิกษุตามเสด็จไปด้วยมากมาย เมื่อองค์ศาสดาเดินทางมาถึงแคว้นโกศล ได้มีเศรษฐีผู้หนึ่งได้นิมนต์ให้พักที่บ้านของตน
แม่บทแห่งธรรม ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร หรือที่เขียนตามพจนานุกรมว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณและเป็นพระสูตรที่เป็นแหล่งรวมของหลักธรรมสำคัญ ๆ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ พระสูตรนี้จึงได้สมญาว่า “ปฐมเทศนา”...
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ
อธิษฐานบารมี ยอมตายไม่ยอมทิ้งเป้าหมาย
"ท่านพึงบำเพ็ญอธิฐานบารมีให้เต็มเปี่ยม ธรรมดาว่าภูเขาหินศิลาแท่งทึบ ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ไม่สะเทือนด้วยแรงลม ตั้งอยู่ในที่เดิมของตนเท่านั้น ฉันใด ท่านจงอย่าได้หวั่นไหว ในความตั้งใจจริงตลอดกาล จักได้เป็นพระพุทธเจ้า"
ขันติบารมี ตบะธรรมนำสู่นิพพาน
"ท่านจงอดทนต่อคำยกย่อง และคำดูหมิ่นทั้งปวง เปรียบเหมือน.. แผ่นดินอดทนต่อสิ่งที่เขาทิ้งลงทุกอย่าง ทั้งสะอาดและไม่สะอาด ไม่แสดงความยินดียินร้าย บำเพ้ญขันติบารมีก้จักบรรลุสัมโพธิญาณได้"
อกาลราวิชาดก ชาดกว่าด้วยไก่ขันไม่ถูกเวลา
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ท่องบ่นไม่เป็นเวลารูปหนึ่ง คราวนั้นมีภิกษุบวชใหม่เป็นกุลบุตรชาวพระนครสาวัตถี บรรพชาในพระศาสนาแล้ว มีความมุ่งมั่นที่จะ...