พระสุภูติเถระ
ท่านจงเจริญพุทธานุสติอันยอดเยี่ยมกว่าภาวนาทั้งหลาย ครั้นเจริญพุทธานุสตินี้แล้ว จักยังมนัสให้บริบูรณ์ จักรื่นรมย์ในเทวโลกตลอดสามหมื่นกัป จักได้เป็นจอมแห่งเทวดาเสวยเทวสมบัติถึง ๘๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ อยู่ในแว่นแคว้น ๑,๐๐๐ ครั้ง จักได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ จักได้เสวยสมบัตินั้นทั้งหมด นี้เป็นผลแห่งการเจริญพุทธานุสติ
ทำความดีต้องมีกุศโลบาย
โอหนอ ทานนี้เป็นทานอันเลิศ เราได้ถวายไว้ดีแล้วในพระกัสสปเถรเจ้า
"ดูดวง" อานุภาพหลวงปู่ ตอน การตรวจดูดวงบุญ
ดูดวงนั้น..วิธีการดูของหลวงปู่ต่างกับการดูดวงของหมอดูอย่างสิ้นเชิง ไม่ต้องถามวันเดือนปีเกิด ไม่ต้องถามเวลาตกฟาก แต่ท่านเข้าธรรมกายไปตรวจดูดวงบุญ ดวงสมบัติ สนใจการดูดวงด้วยธรรมกายของหลวงปู่เชิญอ่านบทความนี้...
มหารถเทพบุตร
ข้าแต่ท่านผู้เป็นมุนี เมื่อใครๆ หวังอยากเป็นผู้มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ และรูปอันประณีต อย่าพึงมีใจข้องอยู่ในสิ่งอื่น พึงยังข้าวและน้ำอันตนตบแต่งดีแล้วเป็นอันมาก ให้ตั้งไว้ในพระพุทธเจ้า เพราะใครๆ ในโลกนี้หรือโลกอื่น จะเป็นผู้ประเสริฐกว่า หรือเสมอด้วยพระพุทธเจ้า มิได้มี พระตถาคตเจ้านั้น ถึงแล้วซึ่งความเป็นผู้ควรบูชาอย่างยิ่งกว่าบุคคลผู้ควรบูชาทั้งหลาย ของชนผู้มีความต้องการบุญ แสวงหาผลอันไพบูลย์
สมณะแท้ คือผู้เข้าถึงพระรัตนตรัย
บุคคลเหล่านี้คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงกันได้ ๘ บุรุษ คือพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ที่ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ ควรแก่การรับทักษิณาทาน เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี และเป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ข้าพเจ้าบูชาอย่างยิ่ง ในพระสงฆ์หมู่ นั้น
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๑)
นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า ทานและการรบมีผลเสมอกัน พวกวีรบุรุษแม้มีน้อย ย่อมชนะคนขลาดที่มีพรรคพวกมากได้ ถ้าบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมอยู่ ย่อมให้สิ่งของแม้น้อยได้ เพราะฉะนั้นแล ทายกนั้นย่อมเป็นผู้มีความสุขในโลกหน้า
บุญเกิดขึ้นจากการให้ทาน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจำแนกทาน เหมือนอย่างเรารู้ไซร้ สัตว์ทั้งหลายยังไม่ให้แล้วก็จะไม่พึงบริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทิน
ความต้องการของคน 6 ประเภท
ธรรมดากษัตริย์ทั้งหลาย ย่อมประสงค์โภคทรัพย์ นิยมปัญญา มั่งใจในกำลังทหาร ต้องการในการได้แผ่นดิน มีความเป็นที่สุด
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
บุญเท่านั้นที่เป็นที่พึ่ง
ผู้ใดใคร่เห็นผู้มีศีล ปรารถนาจะฟังพระสัทธรรม กำจัดมลทิน คือความตระหนี่ได้ ผู้นั้นแล ท่านเรียกว่าผู้มีศรัทธา