ธุดงคสถานล้านนา จัดงานบุญตักบาตรเทโวโรหณะ
ธุดงคสถานล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดงานบุญตักบาตรเทโวโรหณะแด่คณะพระภิกษุสามเณรจำนวน 100 รูป
สีลานิสังสชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ของศีล
ณ ที่นี้ นอกจากพระรัตนตรัยแล้ว เราก็ไม่มีที่พึ่งอื่นใด ฉะนั้นแล้วเราจะระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยนี่แหละเป็นที่พึ่งยามคับขัน ขณะที่พระอริยสาวกเจ้าระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยอยู่นั้น พลันพญานาคราชที่อาศัยอยู่บนเกาะแห่งนั้นก็ปรากฎกายขึ้นมา หลังพญานาคปรากฏกายขึ้นมาเหนือผืนน้ำได้มานาน ก็เนรมิตร่างกายของตัวเองให้เป็นเรือสำเภาลำใหญ่เต็มไปด้วยรัตนเจ็ดประการ
เสาหลักต้นเล็ก
เด็กบางคนอายุยังน้อยกลับต้องทำงานหาเลี้ยงครอบครัว กลายเป็นเสาหลักให้ครอบครัวแม้ยังเป็นเสาหลักต้นเล็กอยู่
กฏาหกชาดก ชาดกว่าด้วยคนขี้โอ่
ในกาลนั้น ยังมีภิกษุรูปหนึ่งถึงพร้อมด้วยความฉลาดเฉลียว แต่กลับมีนิสัยขี้โอ่ เที่ยวอวดตนข่มท่านไปทั่ว จนเป็นที่เอือมระอาต่อเหล่าภิกษุด้วยกัน “นอกจากพระศาสดาแล้ว ในพระเชตวันแห่งนี้ ก็จะหาใครที่ฉลากว่าข้าไม่มีอีกแล้ว ฮ่าๆๆ ข้าภูมิใจตัวเองจริงๆ ฮ่าๆๆ ” “ ดูสิท่าน ภิกษุขี้โอ่รูปนั้น เดินมาทางนี้แล้ว ” “ กระผมว่าเราไปที่อื่นกันดีกว่านะท่าน ”
จุลลโพธิชาดก ชาดกว่าด้วยความโกรธ
ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทำประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า
หุ่นยนต์ คน แรงงาน
หุ่นยนต์เล่นหมากรุก หุ่นยนต์สัตว์เลี้ยงช่างดูน่ารัก แล้วถ้าหุ่นยนต์เริ่มทำงานแทนคนยังน่ารักอยู่หรือไม่
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
ทำบุญแล้วอยากได้
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าเวลาทำบุญแล้วก็อยากได้นั้นได้นี้ทำให้รู้สึกว่าเหมือนไม่ใช่บุญแท้รู้สึกอึดอัดจะมีวิธีแก้ไขอย่างไรคะ
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว