มุทิตาจิต กับ อนุโมทนา ต่างกันอย่างไร
บทความนี้อธิบายความแตกต่างระหว่างมุทิตาจิตและอนุโมทนา ทั้งในด้านความหมาย การแสดงออก และอานิสงส์ของการมุทิตาและอนุโมทนา การมีจิตยินดีในความดีของผู้อื่นเป็นคุณธรรมที่ควรส่งเสริมในสังคม
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย จัดกิจกรรมนั่งสมาธิสำหรับชาวท้องถิ่น
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดกิจกรรมนั่งสมาธิสำหรับชาวท้องถิ่น
มิตรแท้ในปรโลก
"ความสุขในโลกนี้และโลกหน้าย่อมเกิดกับ ผู้ทำบุญไว้ ผู้ปรารถนาเป็นสหายแห่งเทพ พึงทำบุญกุศลไว้ให้มาก เพราะผู้ทำบุญเป็นนิตย์ย่อม บันเทิงใจอยู่ในสวรรค์"
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 67
บทความให้กำลังใจ กลอนให้กำลังใจ เพลงให้กำลังใจ หรือจะเป็นคำคมกำลังใจ เพื่อให้ทุกคนได้มีกำลังใจที่สูงขึ้นในยามที่อาจท้อแท้ไปบ้าง
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 61
บทความให้กำลังใจ ไม่ว่าจะเป็นข้อความเพลงให้กำลังใจ กลอนเพลงให้กำลังใจ เพลงให้กำลังใจ หรือจะเป็นคำคมกำลังใจ เพื่อให้ทุกคนได้มีกำลังใจที่สูงขึ้นในยามที่อาจท้อแท้ไปบ้าง
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
กระแสแห่งกรรม (๑)
ผู้ใดเมื่อถูกกล่าวสอนอยู่ ไม่ทำตามคำสอนของผู้ปรารถนาประโยชน์ ผู้อนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล ผู้นั้นย่อมเศร้าโศก เหมือนมิตตพินทุกะจับเท้าแพะเศร้าโศกอยู่ฉะนั้น
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๑)
นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า ทานและการรบมีผลเสมอกัน พวกวีรบุรุษแม้มีน้อย ย่อมชนะคนขลาดที่มีพรรคพวกมากได้ ถ้าบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมอยู่ ย่อมให้สิ่งของแม้น้อยได้ เพราะฉะนั้นแล ทายกนั้นย่อมเป็นผู้มีความสุขในโลกหน้า
ชัยชนะที่แท้จริง
พึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี อีกทั้งคนตระหนี่ และคนเหลวไหล...
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิบุคคล ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
วิบากกรรมของนักล่าสัตว์
เมื่อก่อน กระผมเป็นพรานเนื้อ เป็นผู้มีฝ่ามือเปื้อนโลหิต เป็นคนหยาบช้าทารุณ มีใจประทุษร้ายในสัตว์เป็นอันมาก เพราะอาศัยอุบาสกเป็นกัลยาณมิตร กระผมจึงฆ่าสัตว์เฉพาะกลางวัน กลางคืนเป็นผู้สำรวมงดเว้นจากปาณาติบาต เพราะฉะนั้นกลางคืนกระผมจึงได้รับความสุข กลางวันได้เสวยทุกข์ ถูกสุนัขมีจิตเดือดดาลพากันห้อมล้อม กัดกินกระผมรอบด้าน
โทษของการล่าสัตว์
ความสุขในโลกนี้และในปรโลก ย่อมไม่มีแก่เหล่าชนผู้ไม่ทำบุญ ความสุขในโลกนี้และโลกหน้า ย่อมมีเฉพาะแก่เหล่าชนผู้ทำบุญไว้ ผู้ปรารถนาความเป็นสหายแห่งเทวดาชาวไตรทศเทพเหล่านั้น พึงทำบุญกุศลไว้ให้มาก เพราะว่า ผู้ทำบุญไว้แล้ว ย่อมบันเทิงใจอยู่ในสวรรค์เพียบพร้อมไปด้วยโภคสมบัติ
อานิสงส์แห่งความยึดมั่นในศีล
ศีลเป็นเบื้องต้น เป็นที่ตั้งอาศัย เป็นประดุจมารดาผู้ให้กำเนิด คุณงามความดีทั้งหลาย เป็นประมุขแห่งกุศลธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น นรชนพึงชำระศีลของตนให้บริสุทธิ์เถิด
หลับแล้วตื่นกลางวิมาน ตอนที่ 2
โยมพ่อของลูกได้เห็นผลแห่งบุญด้วยตาของตนเองแล้วว่า บุญมีจริงสวรรค์มีจริง ทำให้ท่านรู้สึกดีใจเป็นอย่างมากที่ได้มาอยู่ที่สวรรค์แห่งนี้
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๔)
ความงามยามราตรีอยู่ที่รัศมีแห่งแสงจันทร์ ความงามของดวงตะวันอยู่ที่การทอแสงให้กับสรรพสัตว์และสรรพสิ่งทั้งหลาย
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(4)
ชนเหล่าใดไม่มีเพื่อนสอง อยู่คนเดียว ย่อมไม่รื่นรมย์ ย่อมไม่ได้ปีติเกิดแต่วิเวก ชนเหล่านั้นถึงจะมีโภคสมบัติเสมอด้วยพระอินทร์ ก็ชื่อว่าเป็นคนเข็ญใจ เพราะได้ความสุขที่ต้องอาศัยผู้อื่น
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - โลกตระการของคนเขลา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ตรัสถึงการให้ทานว่าเป็นสิ่งที่ควรทำ เพราะเป็นการขจัดความตระหนี่ออกจากใจ จะได้เป็นบุญกุศลติดตัวข้ามภพข้ามชาติ เกิดมากี่ภพกี่ชาติจะได้ไม่ต้องลำบากในการทำมาหากิน จะได้สร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แล้วจึงตรัสเรื่องการรักษาศีล ซึ่งเป็นบ่อเกิดแห่งคุณความดีทั้งมวลที่จะทำให้มีความสุข ความบริสุทธิ์ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - แม้เทวดาก็ช่วยไม่ได้
เรื่องมีอยู่ว่า ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีเทวดาองค์หนึ่งได้เห็นจุตินิมิต เหงื่อไหลออกจากรักแร้ ทิพยภูษาอาภรณ์จากที่เคยเปล่งปลั่งสว่างไสว ก็เศร้าหมองลงทันตา มีความรุ่มร้อนขึ้นมาในกาย ท่านรู้ชัดว่า ถึงคราวตนเองจะต้องจุติแล้ว จึงเกิดความเสียดายในทิพยสมบัติที่เคยครอบครอง แต่ก็ไม่รู้ว่า จะทำอย่างไรดี จึงจะได้ครอบครองสมบัติเหล่านี้อีก
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 60
อาจารย์เสนกะถูกมโหสถเย้ยกลับด้วยถ้อยคำที่เชือด เชือนเช่นนั้น ก็รู้สึกขุ่นเคืองใจอยู่ไม่น้อย แต่ก็พยายามสกัดกั้นอารมณ์นั้นไว้ไม่แสดงออก เพื่อให้สมกับที่ตนเป็นผู้มีอาวุโสกว่า ครั้นแล้วก็ได้กราบทูลท้าวเธอต่อไปว่า “ขอเดชะ มโหสถยังเด็กเหลือเกิน ปากก็ยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม ผ่านโลกมาเพียงไม่กี่ปี แล้วเธอจะรู้อะไร พระพุทธเจ้าข้า”